สมาธิสั้นเป็นโรคพัฒนาการทางสมองที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการควบคุมตัวเองล่าช้ากว่าเด็กวัยเดียวกัน สังเกตได้จากอาการสำคัญ 3 ด้าน คือ ซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) ไม่สามารถจดจ่อกับกิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใดได้นาน เบื่อง่าย วอกแวก (Inattention) และหุนหัน วู่วาม รอคอยไม่เป็น (Impulsive) ส่งผลกระทบถึงการเรียนและการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เต็มศักยภาพหรือความสามารถที่แท้จริงของเด็ก
ในประเทศไทยพบว่า 3-5 % ของเด็กในวัยเรียนอายุ 5-12 ปี ประสบปัญหาเป็นโรคสมาธิสั้น หรือเด็กนักเรียน 20 คน จะพบเด็กสมาธิสั้น 1 คน สาเหตุมาจากสมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง โดยเฉพาะในสมองส่วนหน้า ที่ควบคุมเรื่องสมาธิ ความจดจ่อ การยับยั้งชั่งใจ และการเคลื่อนไหวของร่างกาย ทำงานน้อยกว่าเด็กปกติ อาการที่แสดงออกคือ ไม่มีสมาธิ วอกแวกง่าย อยู่ไม่นิ่ง ซน ควบคุมพฤติกรรมตัวเองได้ยากและหุนหันพลันแล่น ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ของเด็ก การทำกิจวัตรประจำวัน และการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น สร้างความกลัดกลุ้มให้แก่พ่อ แม่ ผู้ปกครองเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นห่วงการใช้ชีวิตอนาคตของลูกหลาน แนะนำ 8 วิธีรับมือกับเด็กสมาธิสั้น ที่พ่อแม่ต้องดู!
ข่าว: https://doodido.com/
เว็บแทงบอล: https://www.ufabet369.net/เว็บแทงบอล/
ดูบอลออนไลน์: https://zonedooball.com/
Comments